ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา FUNDAMENTALS EXPLAINED

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา Fundamentals Explained

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา Fundamentals Explained

Blog Article

“แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ต้องแก้พื้นที่”

แม้ในแต่ละปีมีบัณฑิตที่จบการศึกษาเป็นจำนวนมาก แต่กลับไม่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน ซึ่งเป็นผลพวงมาจากระบบการศึกษาในปัจจุบันที่ไม่สอดรับกับความต้องการขององค์กรต่างๆ เนื่องจากระบบโครงสร้างทางการศึกษาไทย ทำให้นักเรียน หรือนักศึกษาขาดประสบการณ์ในการเรียนรู้ และการทำงาน 

Ad cookies are made use of to deliver visitors with appropriate advertisements and advertising and marketing campaigns. These cookies track site visitors across websites and collect information to deliver tailored advertisements. Other people Others

This has become the 4 main cookies established from the Google Analytics support which enables Site entrepreneurs to track visitor conduct and evaluate web page efficiency. This cookie establishes new classes and visits and expires after half an hour.

หลักสูตรนานาชาติมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น 

กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เป็นผู้สอดส่องและส่งต่อความช่วยเหลือ

ผู้ว่าราชการท่านมาแล้วก็ไป สุดท้ายคนที่จะต้องลุกขึ้นมาแก้ไขปัญหาร่วมกันก็ต้องเป็นคนในจังหวัดนั้นๆ”

ผลลัพธ์คือเงื่อนไขด้านสภาพที่อยู่อาศัยสามารถคัดกรองนักเรียนยากจนได้มากที่สุดดังคาด แต่การเก็บข้อมูลดังกล่าว จำเป็นต้องถ่ายภาพประกอบ จึงเกิดปัญหาเรื่องการเดินทางไปเยี่ยมบ้านนักเรียน โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกลหรือบนเขาบนดอยนั้นมีความยากลำบาก และน่ากังวลเรื่องความปลอดภัยของครู อีกทั้งบางกรณี สภาพบ้านอาจไม่สามารถสะท้อนความยากจนของตัวนักเรียนได้ เพราะมีนักเรียนบางกลุ่มอาศัยกับญาติที่มีบ้านหลังใหญ่โต หรือมีปัจจัยด้านวัฒนธรรมอย่างชนเผ่าม้งที่นิยมสร้างบ้านด้วยไม้ไผ่และวัสดุธรรมชาติ ทำให้แม้สอดคล้องกับเงื่อนไข แต่ไม่ได้มีสถานะยากจนจริง

ยังมีข้อจำกัดด้านความแม่นยำ และไม่รัดกุมมากพอจะตรวจสอบความซ้ำซ้อนของจำนวนนักเรียน ส่งผลให้นานวันเข้า เด็กที่ขึ้นชื่อว่า ‘ยากจน’ ในระบบมีอยู่อย่างล้นหลาม แต่เงินซึ่งถูกแจกจ่ายออกไปกลับอยู่ในมือของคนอื่น เกิดเหตุการณ์ ‘คนจนจริงไม่ได้เงิน ส่วนคนได้เงินไม่ได้จนจริง’

ตัวเลขดังกล่าวอาจดูเป็นสัญญาณที่ดี แต่ถ้ามองให้ลึกไปกว่านั้น เราจะพบว่า เด็กจำนวนมากยังถูกกีดกันออกจากระบบการศึกษา หรือได้เรียนแต่ไปไม่ถึงปลายทาง ทั้งหมดนี้สะท้อนว่า แม้สถานการณ์การศึกษาดูเหมือนจะดีขึ้น แต่ความเหลื่อมล้ำไม่ได้หมดไป และความเสมอภาคยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงกับทุกคน อัตราการเข้าเรียนที่เพิ่มขึ้นจึงเป็นเพียงยอดภูเขาน้ำแข็งที่ซ่อนปัญหามากมายเอาไว้ข้างใต้ และทิ้งโจทย์ใหญ่ให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะในประเทศที่ยังมีปัญหาเรื่องระบบการศึกษา ต้องนำมาขบคิดกันต่อว่า จะทำอย่างไรให้ระบบการศึกษาเท่าเทียมและเสมอภาคอย่างแท้จริง ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา รวมถึงจะปรับระบบการศึกษาอย่างไรให้เข้ากับโลกยุคปัจจุบันด้วย

ดร.ศุภโชค ปิยะสันต์ ที่ปรึกษาเครือข่ายชมรมนักจัดการศึกษาบนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร กล่าวถึงความกังวลเกี่ยวกับแนวโน้มโรงเรียนขนาดเล็กที่กำลังจะเพิ่มจำนวนขึ้น แต่รูปแบบงบประมาณยังไม่เปลี่ยนแปลง

มาเป็นครู ตชด. ณ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านตะแบกงาม จังหวัดชุม เป็นโรงเรียนที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทั้งคนท้องถิ่น คนที่เดินทางมาจากต่างถิ่น แรงงานข้ามชาติที่เดินทางมาทำงานเลี้ยงชีพ 

ปัจจุบันโลกมีความเป็นโลกาภิวัตน์ หรือการติดต่อสื่อสารสามารถทำได้อย่างง่ายดาย รวดเร็ว และขยายขอบเขตของการติดต่ออย่างกว้างขวาง ทำให้สถาบันทางการศึกษาตระหนักถึงการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับการอ้างอิงหลักสูตรจากสถาบันทางการศึกษาในต่างประเทศ เพื่อให้นักเรียนสามารถขยายพื้นที่ในการหาองค์ความรู้ได้กว้างขวางมากขึ้น และช่วยลดปัญหาด้านการศึกษา อีกทั้งยังทำให้นักเรียนสามารถใช้ชีวิตอยู่ในโลกของความเป็นสากลได้อย่างมีประสิทธิภาพ

iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

Report this page